เอสเซนเชียลออยล์ คืออะไร ?
เอสเซนเชียลออยล์ คือ น้ำมันที่สกัดได้จากต่อมน้ำมันหรือเซลล์ชนิดพิเศษในพืช หรือจากเนื้อเยื่อของต้นไม้บางชนิด
เอสเซนเชียลออยล์ คือ น้ำมันที่สกัดได้จากต่อมน้ำมันหรือเซลล์ชนิดพิเศษในพืช หรือจากเนื้อเยื่อของต้นไม้บางชนิด
น้ำมันเหล่านี้ทำให้พืชแต่ละชนิดมีกลิ่นเฉพาะตัว กล่าวกันว่าเอสเซนเชียลออยล์ เปรียบ
เสมือนกับวิญญาณของพืชเลยทีเดียว น้ำมันหอมระเหยหรือเอสเซนเชียลออยล์จากพืชชนิดใดบ้าง
เราคงรู้จักกับน้ำมันหอมระเหยหรืออโรมาเธอราพีมากขึ้นแล้ว คราวนี้ลองมา
ดูว่าพืชตัวใดบ้าง ที่นำมาสกัดน้ำมันหอมระเหยได้ดีในบ้านเรา มีผู้เชี่ยวชาญ
ในเรื่องนี้ให้ข้อมูลว่า พืชที่ให้กลิ่นหอมที่ปลูกในบ้านเรา นำมาแบ่งเป็น 7 ประเภทดังนี้
1.พืชที่ดอกมีกลิ่นหอม
ได้แก่กุหลาบ มะลิลา มะลิซ้อน มะลิวัลย์ มะลิเลื้อย กระดังงา กฤษณา กระดงงาจีน การเวก กาหลง แก้ว กระถินหอม กาแฟ กุมาริกา กันเกรา การะเกด กล้วยไม้ กานพลู ขจร เขี้ยวกระแตเข็มหอม คัด เค้า จันทน์กะพ้อ จำปูน จำปา จำ ปี ชัยพฤกษ์ ชงโค ชะเอม ชำมะนาด ซ่อนกลิ่น ตันหยง
เทียนกิ่ง นมแมว นิลุบล น้ำผึ้ง นมตำเรีย นางแย้ม บัวเผื่อน บุนนาค บานบุพีอม บานเช้า ปทุม ประยงค์ ประดู่ ปีบ พะยอม พิกุล พุด พุดข้อน พุทธขาด พลับพลึง
มณฑา โมก ยี่โถ ยี่หุบ ราตรี ลดาวัลย์ ลำเจียก ลั่นทมลำดวน เจ็บมือนาง โศก สายหยุด สนสร้อย เสาวรส สายน้ำ ผึ้ง
2.พืชที่ใบมีกลิ่นหอม ได้แก่
กะเพราขาว กะเพราแดง กะเพราช้าง โหระพา จันทน์หอม กระพังหอม ตะไคร้ ตะไคร้หอม เตยหอม เนียม ผักชี ผักชีฝรั่ง พิมเสน พลู
มะกรูด แมงลัก ยูคาลิปดัส สะระแหน่ โหระพา
3.พืชที่เปลือกมีกลิ่นหอม ได้แก่
กระแจะ กระเทียมต้น ไม้หอม พณาปราย กะพังหัน การบูร อบเชย
4.พืชที่ผลหรือเคล็ดมีกลิ่นหอม ได้แก่
โกโก้ จันทน์เทศ กระวาน กาแฟ ยี่หร่า เร่ว ส้ม (ผิว) พริกไทย มะกรูด (ผิว)
5.พืซทีรากมีกลิ่นหอม ได้แก่
กระชาย กระต่ายขาว ขิง ขา ขมิ้นชัน ไพล แฝกหอม
6.พืชที่ต้นมีกลิ่นหอม ได้แก่
กฤษณา ตะไคร้ ตะไคร้หอม ตะไคร้ต้น จันทน์หอม จันทนา กำลังเสือโคร่ง จันทน์ จันทน์ชะมด
7.พืชทียางมีกลิ่นหอม ได้แก่ กำยาน
ข้อควรระวังในการใช้เอสเซนเชียลออยล์
มีข้อควรระวัง ต่างๆในการใช้เอสเซนเชียลออยล์ ดังนี้
- ห้ามรับประทาน สอดใฟในช่องคลอด หรือทวารหนัก
- ห้ามใช้เอสเซียนเชียนออยล์บริสุทธิ์ 100 0/0 ทาผิวหนังโดยตรง แต่ถ้าจะใช้ก็ต้องผสมให้เจือจางเสียก่อนก่อนที่จะนำไปใช้ ยกเว้นในบางกรณี เช่น แผล แมลงกัดต่อย แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกขนาดเล็ก และแผลสดขนาดเล็กที่สามารถใ้น้ำมันลาเวนเดอร์ หรือน้ำมันที-ทรีบริสุทธิ์ 100 % ได้ในปริมาณ 1-2 หยด
- ระวังไม่ให้เอสเซียนเขียนออยล์เข้าตา ถ้าเข้าตาให้ล้างด้วยน้ำเย็นสะอาดมาก ๆเป็นเวลาอย่างต่ำ 5 นาที และหลังจากการล้างแล้ว 15 นาทียังมีอาการแสบตาอยู่อีก ให้รีบปรึกษาแพทย์
- ควรใช้เอสเซนเชียลออยล์ในปริมาณที่เหมาะสม ถ้ามากเกินไปอาจเกิดการระคายเคือง ปวดศีรษะ คลื่นไสั หรืออาจรู้สึกไม่สบายได้
- หลีกเลี่ยงการใช้เอสเซนเชียลออยล์ชนิดเดียวติดต่อกันเกิน 2 เดือน และในสัปดาห์ควรมีวันพักสัก 1 วัน
- ไม่ควร์ใช้เอสเซนเชียลออยล์ที่ไม่ทราบชื่อทางวิทยาศาสตร์หรือไม่มีเอกสารเกี่ยวกับวิธีใช้และความปลอดภัย เพื่อความปลอดภัยควรพิจารณาจากแหล่งที่น่าเชื่อถือและให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างเพียงพอ
- ผู้ที่เป็นโรคหอบหืด ให้หลีกเลี่ยงการใช้เอสเซนเชียลออยล์โดยการสูดดมไอน้ำ
- กรณีที่ผิวแพ้ง่าย ควรทำการทดสอบการแพ้ก่อนใช้เอสเซนเชียลออยล์ในแต่ละชนิด
- เอสเซนเชียลออยล์จากผลไม้ตระกูลส้ม จะไวต่อรังสีอัลตรา-ไวโอเล็ต จะทำให้ผิวไหม้แดดได้ง่าย จึงควรหลีกเลี่ยงแดด หลังการทา ซึ่งเราสามารถทา หรือนวดในร่มผ้าได้
- ห้ามใช้เอสเซนเชียลออยล์ดังต่อไปนี้ ในกรณีที่เป็นลมบ้าหมู คือ โรสแมรี เซจ สวีทเฟนเนล และอีสสพ เพราะอาจกระตุ้นให้เกิดการชักได้
- สำหรับผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ควรหลีกเลี่ยงเอสเซนเชียลออยล์ ดังต่อไปนี้ คือ โรสแมรี เซจ ไทม์ และฮีสสพ
- สำหรับผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตต่ำ ให้หลีกเลี่ยงการใช้เอสเซนเชียลออยล์ดังต่อไปนี้ คือ สวีทมาจอร์รัม ลาเวนเดอร์ กระดังงา
เสมือนกับวิญญาณของพืชเลยทีเดียว น้ำมันหอมระเหยหรือเอสเซนเชียลออยล์จากพืชชนิดใดบ้าง
เราคงรู้จักกับน้ำมันหอมระเหยหรืออโรมาเธอราพีมากขึ้นแล้ว คราวนี้ลองมา
ดูว่าพืชตัวใดบ้าง ที่นำมาสกัดน้ำมันหอมระเหยได้ดีในบ้านเรา มีผู้เชี่ยวชาญ
ในเรื่องนี้ให้ข้อมูลว่า พืชที่ให้กลิ่นหอมที่ปลูกในบ้านเรา นำมาแบ่งเป็น 7 ประเภทดังนี้
1.พืชที่ดอกมีกลิ่นหอม
ได้แก่กุหลาบ มะลิลา มะลิซ้อน มะลิวัลย์ มะลิเลื้อย กระดังงา กฤษณา กระดงงาจีน การเวก กาหลง แก้ว กระถินหอม กาแฟ กุมาริกา กันเกรา การะเกด กล้วยไม้ กานพลู ขจร เขี้ยวกระแตเข็มหอม คัด เค้า จันทน์กะพ้อ จำปูน จำปา จำ ปี ชัยพฤกษ์ ชงโค ชะเอม ชำมะนาด ซ่อนกลิ่น ตันหยง
เทียนกิ่ง นมแมว นิลุบล น้ำผึ้ง นมตำเรีย นางแย้ม บัวเผื่อน บุนนาค บานบุพีอม บานเช้า ปทุม ประยงค์ ประดู่ ปีบ พะยอม พิกุล พุด พุดข้อน พุทธขาด พลับพลึง
มณฑา โมก ยี่โถ ยี่หุบ ราตรี ลดาวัลย์ ลำเจียก ลั่นทมลำดวน เจ็บมือนาง โศก สายหยุด สนสร้อย เสาวรส สายน้ำ ผึ้ง
2.พืชที่ใบมีกลิ่นหอม ได้แก่
กะเพราขาว กะเพราแดง กะเพราช้าง โหระพา จันทน์หอม กระพังหอม ตะไคร้ ตะไคร้หอม เตยหอม เนียม ผักชี ผักชีฝรั่ง พิมเสน พลู
มะกรูด แมงลัก ยูคาลิปดัส สะระแหน่ โหระพา
3.พืชที่เปลือกมีกลิ่นหอม ได้แก่
กระแจะ กระเทียมต้น ไม้หอม พณาปราย กะพังหัน การบูร อบเชย
4.พืชที่ผลหรือเคล็ดมีกลิ่นหอม ได้แก่
โกโก้ จันทน์เทศ กระวาน กาแฟ ยี่หร่า เร่ว ส้ม (ผิว) พริกไทย มะกรูด (ผิว)
5.พืซทีรากมีกลิ่นหอม ได้แก่
กระชาย กระต่ายขาว ขิง ขา ขมิ้นชัน ไพล แฝกหอม
6.พืชที่ต้นมีกลิ่นหอม ได้แก่
กฤษณา ตะไคร้ ตะไคร้หอม ตะไคร้ต้น จันทน์หอม จันทนา กำลังเสือโคร่ง จันทน์ จันทน์ชะมด
7.พืชทียางมีกลิ่นหอม ได้แก่ กำยาน
ข้อควรระวังในการใช้เอสเซนเชียลออยล์
มีข้อควรระวัง ต่างๆในการใช้เอสเซนเชียลออยล์ ดังนี้
- ห้ามรับประทาน สอดใฟในช่องคลอด หรือทวารหนัก
- ห้ามใช้เอสเซียนเชียนออยล์บริสุทธิ์ 100 0/0 ทาผิวหนังโดยตรง แต่ถ้าจะใช้ก็ต้องผสมให้เจือจางเสียก่อนก่อนที่จะนำไปใช้ ยกเว้นในบางกรณี เช่น แผล แมลงกัดต่อย แผลไฟไหม้น้ำร้อนลวกขนาดเล็ก และแผลสดขนาดเล็กที่สามารถใ้น้ำมันลาเวนเดอร์ หรือน้ำมันที-ทรีบริสุทธิ์ 100 % ได้ในปริมาณ 1-2 หยด
- ระวังไม่ให้เอสเซียนเขียนออยล์เข้าตา ถ้าเข้าตาให้ล้างด้วยน้ำเย็นสะอาดมาก ๆเป็นเวลาอย่างต่ำ 5 นาที และหลังจากการล้างแล้ว 15 นาทียังมีอาการแสบตาอยู่อีก ให้รีบปรึกษาแพทย์
- ควรใช้เอสเซนเชียลออยล์ในปริมาณที่เหมาะสม ถ้ามากเกินไปอาจเกิดการระคายเคือง ปวดศีรษะ คลื่นไสั หรืออาจรู้สึกไม่สบายได้
- หลีกเลี่ยงการใช้เอสเซนเชียลออยล์ชนิดเดียวติดต่อกันเกิน 2 เดือน และในสัปดาห์ควรมีวันพักสัก 1 วัน
- ไม่ควร์ใช้เอสเซนเชียลออยล์ที่ไม่ทราบชื่อทางวิทยาศาสตร์หรือไม่มีเอกสารเกี่ยวกับวิธีใช้และความปลอดภัย เพื่อความปลอดภัยควรพิจารณาจากแหล่งที่น่าเชื่อถือและให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่างเพียงพอ
- ผู้ที่เป็นโรคหอบหืด ให้หลีกเลี่ยงการใช้เอสเซนเชียลออยล์โดยการสูดดมไอน้ำ
- กรณีที่ผิวแพ้ง่าย ควรทำการทดสอบการแพ้ก่อนใช้เอสเซนเชียลออยล์ในแต่ละชนิด
- เอสเซนเชียลออยล์จากผลไม้ตระกูลส้ม จะไวต่อรังสีอัลตรา-ไวโอเล็ต จะทำให้ผิวไหม้แดดได้ง่าย จึงควรหลีกเลี่ยงแดด หลังการทา ซึ่งเราสามารถทา หรือนวดในร่มผ้าได้
- ห้ามใช้เอสเซนเชียลออยล์ดังต่อไปนี้ ในกรณีที่เป็นลมบ้าหมู คือ โรสแมรี เซจ สวีทเฟนเนล และอีสสพ เพราะอาจกระตุ้นให้เกิดการชักได้
- สำหรับผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง ควรหลีกเลี่ยงเอสเซนเชียลออยล์ ดังต่อไปนี้ คือ โรสแมรี เซจ ไทม์ และฮีสสพ
- สำหรับผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตต่ำ ให้หลีกเลี่ยงการใช้เอสเซนเชียลออยล์ดังต่อไปนี้ คือ สวีทมาจอร์รัม ลาเวนเดอร์ กระดังงา
สำหรับสตรีมีครรภ์ ห้ามใช้เอสเซนเชียลออยล์ดังต่อไปนี้ คือ เปปเปอร์มินท์
โรสแมรี และเพื่อความปลอดภัย ไม่ควรใช้เอสเซนเชียลออยล์ ทุกขนิดกับสตรีที่มีครรภ์ต่ำกว่า 3 เดือน
อย่างไรก็ตาม การใช้้ผลิตภัณฑ์ประเภทสปาที่มีน้ำมันหอมระเหยเป็นส่วนประกอบมีข้อควรระวังอยู่หลายประการได้แก่
- หลีกเลี่ยงการใช้ในระหว่างตั้งครรภ์ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 3 เดือน
- หลีกเลี่ยงการใช้ในกลุ่มที่มีปัญหาความดันโลหิต
- หลีกเลี่ยงการใช้ในกลุ่มทีมีอาการชัก
- หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดโดยตรงหลังจากการใช้ผลิตภัณฑ์
- ไม่ควรให้รวมกับแอลกอฮอล์
- ไม่ควรใช้กับผู้ที่มีผิวแพ้ง่าย
ข้อมูลอ้างอิงจาก หนังสือ มีชีวิตเพิ่มชีวา กับสปาในบ้าน
โรสแมรี และเพื่อความปลอดภัย ไม่ควรใช้เอสเซนเชียลออยล์ ทุกขนิดกับสตรีที่มีครรภ์ต่ำกว่า 3 เดือน
อย่างไรก็ตาม การใช้้ผลิตภัณฑ์ประเภทสปาที่มีน้ำมันหอมระเหยเป็นส่วนประกอบมีข้อควรระวังอยู่หลายประการได้แก่
- หลีกเลี่ยงการใช้ในระหว่างตั้งครรภ์ โดยเฉพาะผู้ที่มีอายุครรภ์น้อยกว่า 3 เดือน
- หลีกเลี่ยงการใช้ในกลุ่มที่มีปัญหาความดันโลหิต
- หลีกเลี่ยงการใช้ในกลุ่มทีมีอาการชัก
- หลีกเลี่ยงการถูกแสงแดดโดยตรงหลังจากการใช้ผลิตภัณฑ์
- ไม่ควรให้รวมกับแอลกอฮอล์
- ไม่ควรใช้กับผู้ที่มีผิวแพ้ง่าย
ข้อมูลอ้างอิงจาก หนังสือ มีชีวิตเพิ่มชีวา กับสปาในบ้าน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น
หมายเหตุ: มีเพียงสมาชิกของบล็อกนี้เท่านั้นที่สามารถแสดงความคิดเห็น